การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลสิริราช
 อำเภอ อ.แม่ทะ
 จังหวัด ลำปาง
 เลขที่ประทานบัตร 27501/15020
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ. 2553
 รายละเอียด
 
  • ในเดือนมีนาคมและเดือนมิถุนาน 2553

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน  7 สถานี

  1. บริเวณห้วยแม่ทาน (สถานีที่ 1)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.6 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า Conductivity  เท่ากับ 285 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 12.4 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 212 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 6 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 115 mg/l as CaCO   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณวัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 31.9 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 0.005 หรือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม (Calcium) เท่ากับ 36.1 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก (Iron) เท่ากับ 0.23 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม (magnesium) เท่ากับ 6.1 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.21 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.002)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสังกะสี (Zinc) เท่ากับ 0.15 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ในเดือนมีนาคม ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำจากสถานีห้วยแม่ทานได้ เนื่องจากน้ำแห้ง

2. บริเวณห้วยแม่เขียดต้นน้ำ (สถานีที่ 2)

  • ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำจากสถานีห้วยแม่เขียดต้นน้ำได้ ทั้งเดือนมีนาคมและเดือนมิถุนายน เนื่องจากน้ำแห้ง

3. บริเวณฝายเก็บน้ำห้วยแม่เขียด (สถานีที่ 3)

  • ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำจากสถานีฝายเก็บน้ำห้วยแม่เขียดได้ ทั้งเดือนมีนาคมและเดือนมิถุนายน เนื่องจากน้ำแห้ง

4. บริเวณห้วยหลวงช่วงต้นน้ำ (สถานีที่ 5)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.0 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า Conductivity  เท่ากับ 253 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 956 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 964 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 379 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 88.9 mg/l as CaCO   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณวัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 38.3 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 0.005 หรือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม (Calcium) เท่ากับ 23.2 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก (Iron) เท่ากับ 0.84 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม (magnesium) เท่ากับ 7.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.12 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.002)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสังกะสี (Zinc) เท่ากับ 0.23 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ในเดือนมีนาคม ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำจากสถานีห้วยหลวงช่วงต้นน้ำได้ เนื่องจากน้ำแห้ง

5. บริเวณห้วยหลวงช่วงท้ายน้ำ (สถานีที่ 6)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.5 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า Conductivity  เท่ากับ 339 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 415 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 564 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 202 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 141 mg/l as CaCO   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณวัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 55.3 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 0.005 หรือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม (Calcium) เท่ากับ 37.4 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก (Iron) เท่ากับ 0.42 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม (magnesium) เท่ากับ 11.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.14 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.002)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสังกะสี (Zinc) เท่ากับ 0.15 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ในเดือนมีนาคม ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำจากสถานีห้วยหลวงช่วงท้ายน้ำได้ เนื่องจากน้ำแห้ง

6. บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยหลวง (อ่างแม่กั๊วะ) (สถานีที่ 8)

ในเดือนมีนาคม

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า Conductivity  เท่ากับ 461 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 60.2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 376 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 39 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 203 mg/l as CaCO   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณวัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 74.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 0.005 หรือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม (Calcium) เท่ากับ 52.4 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก (Iron) เท่ากับ 0.58 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ 0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม (magnesium) เท่ากับ 17.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.49 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.002)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสังกะสี (Zinc) เท่ากับ 0.11 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)

ในเดือนมิถุนายน

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า Conductivity  เท่ากับ 482 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 88.6 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 420 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 48 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 184 mg/l as CaCO   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณวัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 87.9 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 0.005 หรือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม (Calcium) เท่ากับ 38.8 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก (Iron) เท่ากับ 0.71 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม (magnesium) เท่ากับ 21.2 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ 0.34 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.002)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสังกะสี (Zinc) เท่ากับ 0.16 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)

7. บริเวณอ่างเก็บน้ำแม่กั๊วะ (แม่ทาน) (สถานีที่ 14)

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.5 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า Conductivity  เท่ากับ 320 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 197 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 376 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 51 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 132 mg/l as CaCO   (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณวัลเฟต (Sulfate) เท่ากับ 67.5 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.01)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกิน 0.005 หรือ 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียม (Calcium) เท่ากับ 38.3 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณทองแดง (Copper) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.1)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็ก (Iron) เท่ากับ 0.54 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) เท่ากับ <0.01 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.05)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมกนีเซียม (magnesium) เท่ากับ 8.8 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณแมงกานีส (Manganese) เท่ากับ <0.10 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.002)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณสังกะสี (Zinc) เท่ากับ 0.14 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 1.0)
  • ในเดือนมีนาคม ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำจากสถานีอ่างเก็บน้ำแม่กั๊วะ (แม่ทาน) ได้ เนื่องจากน้ำแห้ง

  เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน  1 สถานี

1. บริเวณขอบบ่อเหมือง

  •   ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำได้ เนื่องจากปัจจุบันได้ยุติการทำเหมืองและรื้อถอนบริเวณสถานีเก็บตัวอย่างน้ำใต้ดินนี้แล้ว

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12        (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
               

                  * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

                  แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
                   (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
                   (ข) การเกษตร

 สถานที่ตรวจวัด 1.ห้วยแม่ทาน 2.ห้วยแม่เขียดต้นน้ำ3.ฝายเก็บน้ำห้วยแม่เขียด 4.ห้วยหลวงช่วงต้นน้ำ5.ห้วยหลวงช่วงท้ายน้ำ6.อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง 7.อ่างเก็บน้ำแม่กั๊วะ8.ขอบบ่อเหมือง
 โดย สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5236261
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]