- ในระหว่างวันที่ 29-30 เมษายน 2551
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี
- บริเวณบ้านวังใหม่ ผลการตวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านไทรทอง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านหนองตะเคียน พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านซับน้อย พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณวัดถ้ำเขาภูหีบ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.65 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 26 เฮิร์ตซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.0102 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.635 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 30 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00338 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 1.59 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 21 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0117 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 2.17มิลลิเมตร/วินาที และแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ 100.0 dB(L) (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี
- บริเวณบ้านวังใหม่ ผลการตวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านไทรทอง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านหนองตะเคียน พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านซับน้อย พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณวัดถ้ำเขาภูหีบ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.664 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 17 เฮิร์ตซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00852 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.408 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 13 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00695 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.127 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 15 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00065 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 0.396 มิลลิเมตร/วินาที และแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ 106.0 dB(L) (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี
- บริเวณบ้านวังใหม่ ผลการตวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านไทรทอง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านหนองตะเคียน พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านซับน้อย พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.254 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณวัดถ้ำเขาภูหีบ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ในแนวขวาง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.59 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 30 เฮิร์ตซ์ และค่าการขจัดเท่ากับ 0.00806 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 0.699 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 23 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.00468 มิลลิเมตร และในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคสูงสุด เท่ากับ 1.78 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 24 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.0110 มิลลิเมตร ซึ่งเครื่องมือสามารถตรวจจับสัญญาณแรงสั่นสะเทือนได้ โดยมีค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดเฉลี่ยทั้ง3แนว เท่ากับ 2.05มิลลิเมตร/วินาที และแรงอัดอากาศได้ เท่ากับ 118.1 dB(L) (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
หมายเหตุ :*มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้