การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. เขาต่อ
 อำเภอ ปลายพระยา
 จังหวัด กระบี่
 เลขที่ประทานบัตร 23862/15309
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในเดือนเมษายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณวัดเขาต่อ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่าค่าความเร็วอนุภาคที่<0.100 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณบางโสก  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง 3 แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.270 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 1 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวตั้ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.220 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 8 เฮิตรซ์และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.170 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 11 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  3. บริเวณสถานีอนามัยบ้านนอกวัด ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่าค่าความเร็วอนุภาคที่<0.100 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  • ในวันที่ 2-3 สิงหาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน  จำนวน 3 สถานี

  1. บริเวณวัดเขาต่อ ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่าค่าความเร็วอนุภาคที่<0.100 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณบางโสก  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่า สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ทั้ง 3 แนว ในแนวขวาง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.250 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 15 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร ในแนวตั้ง ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.200 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 28 เฮิตรซ์และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร และในแนวยาว ค่าความเร็วอนุภาค เท่ากับ 0.150 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ เท่ากับ 18 เฮิตรซ์ และค่าการขจัด เท่ากับ 0.000 มิลลิเมตร (ค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  3. บริเวณสถานีอนามัยบ้านนอกวัด ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่าค่าความเร็วอนุภาคที่<0.100 มิลลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้(อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

หมายเหตุ:*ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน มาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติส่งเริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณวัดเขาต่อ 2.บริเวณบ้านบางโสก 3.บริเวณสถานีอนามัยบ้านนอกวัด
 โดย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนมจันทร์
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5238807
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]