การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. บางพระ
 อำเภอ ศรีราชา
 จังหวัด ชลบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 21375/15320
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2551
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 21เมษายน 2551

เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี

 1. บริเวณจุดตรวจวัดบ่อเก็บขังขุมเหมืองเก่า ประทานบัตรเลขที่ 21375/15319

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 8.10 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) น้อยกว่า 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 238.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 77.86 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 6.2 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 2. บริเวณจุดตรวจวัดบ่อดินเก็บเก่าข้างพื้นที่โครงการทางทิศตะวันออก

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 7.87 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 20.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 266.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 71.72 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 34.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 3. บริเวณจุดตรวจวัดห้วยกุ่ม

  • ผลจากการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH ) เท่ากับ 6.40 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 32.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 266.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) มีค่าเท่ากับ 81.96 มิลลิกรัมต่อลิตร as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลจากการตรวจวัดค่าความขุ่น (turbidity) เท่ากับ 86.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

 

สรุปได้ว่า จากการวิเคราะห์คุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี คือ  บริเวณบ่อเก็บขังขุมเหมืองเก่า ประทานบัตรเลขที่ 21375/15319, บริเวณบ่อดินเก็บเก่าข้างพื้นที่โครงการทางทิศตะวันออก,บริเวณห้วยกุ่ม มีค่าดัชนีการตรวจวัดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน (ประเภทที่ 3 ) แต่หากจะนำน้ำมาใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคจะต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน

 

หมายเหตุ: 

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

 

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 

 สถานที่ตรวจวัด (1) บ่อเก็บขังขุมเหมืองเก่า ประทานบัตรเลขที่ 21375/15319 (2) บ่อดินเก็บเก่าข้างพื้นที่โครงการทางทิศตะวันออก (3)ห้วยกุ่ม
 โดย บริษัท เอ็นไวรอนเมนท์ รีเสริช แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5238469
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]