|
|
การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ |
อปท. |
เทศบาลตำบลคลองปราบ |
อำเภอ |
บ้านนาสาร |
จังหวัด |
สุราษฎร์ธานี |
เลขที่ประทานบัตร |
30208/15536 |
ลำดับที่ |
1 |
เรื่อง |
ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินในปี พ.ศ. 2553 |
รายละเอียด |
- ในวันที่ 2 เดือนมีนาคม 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณบ่อดักตะกอน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.60 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 0.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 85 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.70 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 20 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กรวม (Total Iron) เท่ากับ 0.20 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 27.00 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณห้วยดอนซอก่อนเข้าพื้นที่โครงการ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.30 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 4.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 2,300 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 3.20 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 650 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กรวม (Total Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,400.00 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณห้วยซอหลังพื้นที่โครงการ
- น้ำแห้ง ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำได้
- ในวันที่ 2 เดือนตุลาคม 2553
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 3 สถานี
1. บริเวณบ่อดักตะกอน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.55 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 0.7 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 88 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 0.50 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 24 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กรวม (Total Iron) เท่ากับ 0.25 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 25.10 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณห้วยดอนซอก่อนเข้าพื้นที่โครงการ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.25 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 3.8 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 2,430 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 3.80 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 670 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กรวม (Total Iron) เท่ากับ <0.05 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,300.00 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
2. บริเวณห้วยซอหลังพื้นที่โครงการ
- น้ำแห้ง ไม่สามารถเก็บตัวอย่างน้ำได้
หมายเหตุ:**มาตรฐานประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ.2520 เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
มาตรฐานคุณภาพ
น้ำบาดาล |
เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม |
เกณฑ์อนุโลมสูงสุด |
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) |
7.0 - 8.5 |
6.5 - 9.2 |
ปริมาณสารแขวนลอย
(Suspended Solids) |
ไม่ได้กำหนด |
ไม่ได้กำหนด |
ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย
น้ำ(Total Dissolved Solids) |
600 mg/l |
1,200 mg/l |
ความกระด้างทั้งหมด
(Total Hardness) |
300 mg/l as CaCO3 |
500 mg/l as CaCO3 |
ค่าความขุ่น (Turbidity) |
5 NTU |
20 NTU |
ปริมาณเหล็กทั้งหมด
(Total Iron) |
0.5 mg/l |
1.0 mg/l |
ซัลเฟต (Sulfate) |
200 mg/l |
250 mg/l |
* มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3
|
สถานที่ตรวจวัด |
1.บริเวณบ่อดักตะกอน 2.บริเวณห้วยดอนซอก่อนเข้าพื้นที่โครงการ 3.บริเวณห้วยซอหลังพื้นที่โครงการ |
โดย |
ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนมจันทร์ |
รูป |
|
เอกสารแนบ |
|
|
|
|