การตรวจสอบ แรงสั่นสะเทือน
 อปท. วังงิ้ว
 อำเภอ ดงเจริญ
 จังหวัด พิจิตร
 เลขที่ประทานบัตร 10840/14250
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนในบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2553
 รายละเอียด
 
  • ในระหว่างวันที่ 28-29 เมษายน 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี

  1. บริเวณด่านชั่งติดพื้นที่โครงการ  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวาง(Transverse) มีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.0476 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 20 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00002 มิลลิเมตร ในแนวตั้ง(Vertical) ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.127 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.0163 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาว(Longitudinal) ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.111 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 2.0 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.0110 มิลลิเมตร และผลรวมความเร็วอนุภาคทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 0.175 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความดังเสียงระเบิด <50 dB(A) (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  2. บริเวณบ้านคลองทรายด้านทิศเหนือ  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวาง(Transverse) มีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.143 มิลลิเมตร/วินาที  ค่าความถี่เท่ากับ 85 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00026 มิลลิเมตร ในแนวตั้ง(Vertical) ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.0794 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ >100 เฮิตรซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00008 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาว(Longitudinal) ค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.159 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ >100 เฮิตรซ์  และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.00028 มิลลิเมตร และผลรวมความเร็วอนุภาคทั้ง 3 ทิศทาง เท่ากับ 0.175 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความดังเสียงระเบิด <50 dB(A) (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณบ้านดงเจริญด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  4. บริเวณบ้านไทรงามด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  5. บริเวณบ้านไทรงามด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)

 

  • ในระหว่างวันที่ 13-14 ตุลาคม 2553

เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 5 สถานี

  1. บริเวณด่านชั่งติดพื้นที่โครงการ  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  2. บริเวณบ้านคลองทรายด้านทิศเหนือ  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  3. บริเวณบ้านดงเจริญด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 
  4. บริเวณบ้านไทรงามด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
  5. บริเวณบ้านไทรงามด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้  ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากว่ามีระดับความสั่นสะเทือนมีค่าความเร็วอนุภาค <0.130 มิลิเมตร/วินาที จนเครื่องมือไม่สามารถตรวจจับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย) 

หมายเหตุ :*มาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2539  เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.13 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้ 

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณด่านชั่งติดพื้นที่โครงการ 2.บริเวณบ้านคลองทรายด้านทิศเหนือ 3.บริเวณบ้านดงเจริญด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ 4.บริเวณบ้านไทรงามด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 5.บริเวณบ้านไทรงามด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้
 โดย บริษัท โอกลา เทสติ้ง แอนด์ คอลซัลติ้ง เซอร์วิส จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5740404
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]