- ในวันที่ 25-26 พฤษภาคม 2553
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 6 สถานี
- บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศิลาทวีโชค ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.40 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ >100 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00282 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 2.79 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถหาค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00229 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 2.10 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถหาค่าได้ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.00316 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านโปร่งนกแก้ว ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.0635 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถหาค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.0635 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถหาค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.254 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 64 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.00040 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านเขารังแตน ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.127 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ >100 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.318 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 39 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.000102 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.127 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 73 เฮิรตซ์ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.00003 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านเขาบ่อทอง ผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดหน้าเหมือง พบว่าสามารถตรวจวัดค่าความเร็วอนุภาคสูงสุดได้ทั้ง3แนว โดยที่แนวขวางมีค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 1.91 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 64 เฮิรตซ์ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00732 มิลลิเมตร ในแนวตั้งค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 0.762 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่ไม่สามารถตรวจวัดค่าได้ ค่าการขจัดเท่ากับ 0.00071 มิลลิเมตร ส่วนในแนวยาวค่าความเร็วอนุภาคเท่ากับ 4.64 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่เท่ากับ 18 เฮิตรซ์ และค่าการขจัดได้ เท่ากับ 0.0376 มิลลิเมตร (อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย)
- บริเวณบ้านเขาน้อย พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
- บริเวณบ้านเขาสัก พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
ในวันที่ 20-21 ธันวาคม 2553
เรื่องผลการตรวจวัดแรงสั่นสะเทือน จำนวน 6 สถานี
- บริเวณสำนักงานโรงโม่หินศิลาทวีโชค พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
- บริเวณบ้านโปร่งนกแก้ว พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
- บริเวณบ้านเขารังแตน พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
- บริเวณบ้านเขาบ่อทอง พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
- บริเวณบ้านเขาน้อย พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
- บริเวณบ้านเขาสัก พบว่าไม่สามารถตรวจวัดค่าความสั่นสะเทือนได้ เนื่องจากค่าความเร็วอนุภาค ต่ำกว่า 0.25 มิลลิเมตร/วินาที ค่าความถี่คลื่นต่ำกว่า 2 เฮิตรซ์
หมายเหตุ : *มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐาน ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมือง(7พฤศจิกายน 2548) ในการวัดค่าความสั่นสะเทือน ถ้าค่าความสั่นสะเทือน ณ จุดที่ทำการวัดต่ำกว่า 0.254 มิลลิเมตรต่อวินาที เครื่องจะไม่สามารถตรวจรับสัญญาณคลื่นสั่นสะเทือนได้