การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เขาหลวง
 อำเภอ วังสะพุง
 จังหวัด เลย
 เลขที่ประทานบัตร 26969/15575
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ. 2550
 รายละเอียด
 
  • ในระหว่างวันที่ 1-30 พฤศจิกายน 2550

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 1 สถานี

1. บริเวณพื้นที่เหมืองแร่ และพื้นที่โดยรอบ พบว่า ปริมาณไซยาไนด์, ทองแดง, ค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) และตะกั่ว มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด คือ

  • มีปริมาณไซยาไนด์มีค่าต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้ (< 0.004 มิลลิกรัมต่อลิตร) ทุกสถานี
  • ปริมาณทองแดงต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้ (< 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร) ทุกสถานี
  • ปริมาณตะกั่วต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้ (< 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร) ทุกสถานี
  • มีค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) อยู่ในช่วง 5.95 - 7.65  (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5.0-9.0) ทุกสถานี
  • ปริมาณสารหนูเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนดโดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.026 - 0.041 มิลลิกรัมต่อลิตร (มาตรฐานกำหนดไว้ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

 

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดินในพื้นที่เหมืองแร่และพื้นที่โดยรอบ
1.  บริเวณด้านล่างของ Engineered Wetland
2.  บ่อประปาบาดาลของหมู่บ้านนา
3.  บ่อประปาบาดาลของหมูบ้านนาหนองบง
4.  บ่อประปาบาดาลของหมู่บ้านห้วยผุก)
พบว่ามีค่าดัชนีตรวจวัดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด คือ

  • มีปริมาณไซยาไนด์มีค่าต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้ (< 0.004 มิลลิกรัมต่อลิตร) ทุกสถานี
  • ปริมาณทองแดงต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้มีค่าระหว่าง < 0.05 - 0.10 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ไม่เกิน 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร) ทุกสถานี
  • ปริมาณตะกั่วต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้มีค่าระหว่าง < 0.01 - 0.014 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (< 0.050 มิลลิกรัมต่อลิตร) ทุกสถานี
  • มีค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) อยู่ในช่วง 6.44 - 7.80 (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 6.5 - 9.2) ทุกสถานี ยกเว้นบ่อประปาบาดาลของหมู่บ้านนาที่มีค่าpH เท่ากับ 6.44
  • ปริมาณสารหนูเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนดโดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.029 - 0.041 มิลลิกรัมต่อลิตร (มาตรฐานกำหนดไว้ไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

เรื่องผลการตรวจวัดปริมาณโลหะหนัก เช่นสารหนู ทองแดง ตะกั่ว และอื่นๆ ที่วัดได้ในน้ำบริเวณพื้นที่เหมือง และบริเวณโดยรอบมีค่าสูงบางเวลา เป็นลักษณะปกติของพื้นที่แหล่งแร่

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดินรายสัปดาห์

1.  บริเวณด้านบนของ Tailings storage facility ประมาณ 100 เมตร
2.  บริเวณ Waste dump  ป
ปริมาณไซยาไนด์ ตะกั่ว และทองแดง มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542) ดังนี้

  • ปริมาณไซยาไนด์ มีค่าต่ำกว่าค่าที่สามารถตรวจวัดได้เท่ากับ < 0.004 มิลลิกรัมต่อลิตร ทุกสถานี
  • ปริมาณทองแดง มีค่าระหว่าง < 0.05 - 0.06 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ไม่เกิน 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
  • ปริมาณตะกั่ว มีค่าระหว่าง < 0.01 - 0.018 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ไม่เกิน 0.050 มิลลิกรัมต่อลิตร
  • ค่าความเป็นกรด - เบส (pH) อย่ในช่วง 6.09 - 7.18 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนด

 
เรื่องผลการตรวจวัดปริมาณไซยาไนด์ (CNFree) รายวัน

1.  องค์ประกอบน้ำทิ้งกากแร่ (Slurry)

  • ปริมาณ CNFree มีค่าอยู่ระหว่าง 0.050 ? 0.099 มิลลิกรัมต่อลิตร (ค่าเฉลี่ย 0.053มิลลิกรัมต่อลิตร) ซึ่งมีค่าอยู่ในค่ามาตรฐานกำหนดไม่เกิน 2 มิลลิกรัมต่อลิตร

2.  น้ำผิวดินบริเวณ Tailings storage facility

  • สถานีน้ำผิวดินบริเวณ Tailings storage facility จุดที่ 1 : ปริมาณ CNFree มีค่าอยู่ระหว่าง 0.050 - 0.086 มิลลิกรัมต่อลิตร (ค่าเฉลี่ย 0.051มิลลิกรัมต่อลิตร )
  • สถานีน้ำผิวดินบริเวณ Tailings storage facility จุดที่ 2 : ปริมาณ CNFree มีค่าอยู่ระหว่าง 0.050 - 0.080 มิลลิกรัมต่อลิตร (ค่าเฉลี่ย 0.052 มิลลิกรัมต่อลิตร )

 
เรื่องผลการตรวจวัดปริมาณไฮโดรเจนไซยาไนด์ ในอากาศบริเวณปากถังละลายแร่

  • จากการตรวจวัด พบว่าปริมาณไฮโดรเจนไซยาไนด์ในอากาศ มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานกำหนดคือ 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร

 

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12        (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

มาตรฐานคุณภาพ

น้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

 6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solids)

 ไม่ได้กำหนด

 ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย

น้ำ(Total Dissolved Solids)

600 mg/l

1,200 mg/l  

ความกระด้างทั้งหมด

(Total Hardness)

 300 mg/l as CaCO3

500 mg/l as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด

(Total Iron)

0.5 mg/l

1.0 mg/l

ซัลเฟต (Sulfate)

 200 mg/l

 250 mg/l

            * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

             * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12      (พ.ศ. 2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.Tailing storage facility 2.Waste dump 3.บ่อรับน้ำบริเวณโรงแต่งแร่และน้ำฝนจาก Sump โดยรอบขุมเหมือง 4.องค์ประกอบน้ำทิ้งกากแร่ (Slurry) 5.บ่อกักเก็บน้ำท้าย Engineered wetland 6.ทางน้ำไหลลงห้วยผุก 7.บ่อน้ำตื้นในหมู่บ้านนา 8.บริเวณจุดตรวจวัดน
 โดย บริษัท ทุ่งคำ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5739605
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]