การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เเม่ตื่น
 อำเภอ เเม่ระมาด
 จังหวัด ตาก
 เลขที่ประทานบัตร 30783/15877
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน และน้ำใต้ดิน 2554
 รายละเอียด
 

   ในวันที่ 22 มีนาคม 2554

เรื่อง ผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 5 สถานี

  1.  บริเวณห้วยกระทิงก่อนไหลผ่านโครงการ

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.8 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 4.11 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 140 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 3.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.02 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณบีโอดี (BOD) เท่ากับ 0.9 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

  2. บริเวณห้วยกระทิงหลังไหลผ่านโครงการ

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.6 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 596 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 200 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 610 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.02 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณบีโอดี (BOD) เท่ากับ 1.3 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

  3.  บริเวณแม่น้ำแม่ตื่นช่วงบ้านคำหวัน หมู่ที่ 5

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.8 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 53 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 155 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 54.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.02 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณบีโอดี (BOD) เท่ากับ 1.7 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

  4.  บริเวณแม่น้ำแม่ตื่นช่วงบ้านห้วยมะขาม หมู่ที่ 3

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.6 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 57.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 185 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 61.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.02 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณบีโอดี (BOD) เท่ากับ 1.5 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

  5.  บริเวณบ่อดักตะกอน

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.4 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 61.0 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 180 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 54 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.02 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.002 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณบีโอดี (BOD) เท่ากับ 0.6 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่เกินกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร  แต่ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพแหล่งน้ำประเภทที่ 4 คือ มีค่าไม่เกิน 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร)

เรื่อง ผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 2 สถานี

1.  บริเวณบ่อสังเกตการณ์บ่อที่ 1

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.5 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) ไม่มี(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 5 NTU)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 360 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0003 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่เกินกว่า 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.02 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.001 มิลลิกรัมต่อลิตร)

      - ผลการตรวจวัดความกระด้าง(Total hardness) เท่ากับ 44 mg/l as CaCO3 (ไม่เกณฑ์มาตรฐานคือ มีค่าไม่เกินกว่า 300 mg/l as CaCO3)

2.  บริเวณบ่อสังเกตการณ์บ่อที่ 2

       - ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.7 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)

       - ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) ไม่มี(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 5 NTU)

       - ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 330 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600)

       - ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) ไม่พบ (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณแคดเมียม (Cadmium) ได้ค่าน้อยกว่า 0.002 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณสารหนู (Arsenic) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0011mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่เกินกว่า 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณตะกั่ว (Lead) ได้ค่าน้อยกว่า 0.035 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.05  มิลลิกรัมต่อลิตร)

       - ผลการตรวจวัดปริมาณปรอท (Mercury) ได้ค่าน้อยกว่า 0.0001 mg/l (ไม่เกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ มีค่าไม่เกินกว่า 0.001 มิลลิกรัมต่อลิตร)

      - ผลการตรวจวัดความกระด้าง(Total hardness) เท่ากับ 30 mg/l as CaCO3 (ไม่เกณฑ์มาตรฐานคือ มีค่าไม่เกินกว่า 300 mg/l as CaCO3) 

      **หมายเหตุ** มาตรฐานตาม ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 3และ 4

            แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประการและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ

            (ก) การอุปโภค และบริโภค ต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน

            (ข) การเกษตร

            แหล่งน้ำประเภทที่ 4 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางอย่างและสามารถเป็นประโยขน์เพื่อ

            (ก) การอุปโภคบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำเป็นพิเศษก่อน

            (ข) การอุตสาหกรรม

  

 

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณห้วยกระทิงก่อนไหลผ่านโครงการ 2.บริเวณห้วยกระทิงหลังไหลผ่านโครงการ 3.บริเวณแม่น้ำแม่ตื่นช่วงบ้านคำหวัน หมู่ที่ 5 4.บริเวณแม่น้ำแม่ตื่นช่วงบ้านห้วยมะขาม หมู่ที่ 3 5.บริเวณบ่อดักตะกอน 6.บริเวณบ่อสังเกตการณ์บ่อที่ 1,2
 โดย บริษัท ไมนิ่ง เอ็นไวรอนเม้นท์ คอนซัลแทนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5740423
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]