การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลห้วยกะปิ
 อำเภอ เมืองชลบุรี
 จังหวัด ชลบุรี
 เลขที่ประทานบัตร 21387/15598
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบนดินและน้ำใต้ดิน ในปี พ.ศ.2554
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 26 เมษายน  2554

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน  1 สถานี

 1. บริเวณห้วยกะปิ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.20(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 – 9.0) 
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 5.328 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 700.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 701.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 516.92 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 211.65 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 00.105 mg/L (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน  จำนวน  3 สถานี

 1. บริเวณน้ำบาดาลวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.76 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 6.5-9.2)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ <0.001 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU) 
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 924.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 1,200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 925.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 589.56 mg/l as CaCO(ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 172.45 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 250 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ <0.001 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)

 2. บริเวณน้ำบ่อตื้นชุมชนบ้านวังตะโก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 8.08 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ <0.001 NTU (ไม่เกินเกณฑ์อนุโลมสูงสุด คือ 20 NTU) 
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 302.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 303.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 195.26 mg/l as CaCO(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 300 mg/l as CaCO)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 27.55 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ ไม่มากกว่า 200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.020 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 0.5 mg/l)

 3. บริเวณน้ำบาดาลโรงโม่หินของโครงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.22 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5) 
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ <0.001 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU) 
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 1.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 1,158 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 1,200 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าของแข็งทั้งหมด (Total Solids) เท่ากับ 1,159 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 965.91 mg/l as CaCO3 (ค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 500 mg/l as CaCO )
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 208.75 mg/l(ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานอนุโลมสูงสุด คือ ไม่มากกว่า 250 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.035 mg/L (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ ไม่มากกว่า 0.5 mg/l)

 

** ทางบริษัทให้เหตุผล เรื่องปริมาณ Total Hardness มีค่าสูงเกินมาตรฐานเกณฑ์อนุโลมสูงสุด เพราะบริเวณดังกล่าว ประกอบด้วยหินปูนยุคเพอร์เมียนของกลุ่มหินราชบุรี ซึ่งมักจะพบในช่องว่างหิน หรือรอยเลื่อน ทำให้น้ำมีความกระด้างสูง และบริเวณดังกล่าวจะใช้น้ำเพื่อการอุปโภคเท่านั้น

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12          (พ.ศ.2542) เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

มาตรฐานคุณภาพ

น้ำบาดาล

เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม

เกณฑ์อนุโลมสูงสุด

ความเป็นกรด-ด่าง(pH)

7.0 - 8.5

 6.5 - 9.2

ปริมาณสารแขวนลอย

(Suspended Solids)

 ไม่ได้กำหนด

 ไม่ได้กำหนด

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย

น้ำ(Total Dissolved Solids)

600 mg/l

1,200 mg/l  

ความกระด้างทั้งหมด

(Total Hardness)

 300 mg/l as CaCO3

500 mg/l as CaCO3

ค่าความขุ่น (Turbidity)

5 NTU

20 NTU

ปริมาณเหล็กทั้งหมด

(Total Iron)

0.5 mg/l

1.0 mg/l

ซัลเฟต (Sulfate)

 200 mg/l

 250 mg/l

                * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

                 * มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12      (พ.ศ. 2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณห้วยกะปิ 2.บริเวณน้ำบาดาลวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม 3.บริเวณน้ำบ่อตื้นชุมชนบ้านวังตะโก 4.บริเวณน้ำบาดาลโรงโม่หินของโครงการ
 โดย บริษัท ทอพ-คลาส คอนซัลแทนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5745503
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]