การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร
 อำเภอ สิเกา
 จังหวัด ตรัง
 เลขที่ประทานบัตร 24102/15695
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินในปี พ.ศ. 2554
 รายละเอียด
 
  • ในวันที่ 29 เมษายน 2554

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 1 สถานี

 1. บริเวณคลองบอน

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.10 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอยรวม(Total Suspended Solids) เท่ากับ 3.9 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนที่ละลายทั้งหมด(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 540 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 4.4 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)  
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 323 mg/l  as CaCO3  (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องการตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 2 สถานี 

  1. บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านทุ่งทวย

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.55 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอยรวม(Total Suspended Solids) เท่ากับ 2.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนที่ละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 214 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.9 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 139 mg/l  as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l  as CaCO3 )  

 2. บริเวณบ่อบาดาลบ้านทุ่งทวย

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH) เท่ากับ 7.45 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 7.0-8.5)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนแขวนลอยรวม(Total Suspended Solids) เท่ากับ 0.9 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณตะกอนที่ละลาย(Total Dissolved Solids) เท่ากับ 333 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 600 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น(Turbidity) เท่ากับ 1.0 NTU (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5 NTU)
  • ผลการตรวจวัดความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) เท่ากับ 214 mg/l  as CaCO3  (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 300 mg/l  as CaCO3 )

หมายเหตุ: *มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมตามน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3
                   แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
                   (ก) การอุปโภค และบริโภคต้องผ่านการฆ่าเชื้อตามปกติ หรือผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
                   (ข) การเกษตร

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณคลองบอน 2.บริเวณบ่อน้ำตื้นบ้านทุ่งทวย 3.บริเวณน้ำบาดาลบ้านทุ่งทวย
 โดย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนมจันทร์
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5287537
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]