การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. ทุ่งทอง
 อำเภอ หนองบัว
 จังหวัด นครสวรรค์
 เลขที่ประทานบัตร 643/15089
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบนดินและน้ำทิ้งในปี พ.ศ.2554
 รายละเอียด
 
  • ในระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2554

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้ง  จำนวน 1  สถานี

  1. บริเวณน้ำขุมเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.87 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ 0.4 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 20.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1,629 mg/l  as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 15 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,516 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 4  สถานี

  1. บริเวณบ่อกักเก็บน้ำ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.95 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ 0.9 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1,530 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 15 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,466 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

  2. บริเวณคลองหนองจอก

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.08 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ 5.0 mg/l (เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 192 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 7 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 5 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

  3. บริเวณคลองหนองตะเคียน 

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.64 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ 1.4 mg/l (เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 263 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 11 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 143 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

  5. บริเวณจุดสบระหว่างคลองหนองจอกและคลองหนองตะเคียน 

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.48 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ 0.9 mg/l (เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 251 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 14 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 134 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ในระหว่างเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม  2554 (วันที่ 22 ธ.ค.2555)

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้ง  จำนวน 1  สถานี

  1. บริเวณน้ำขุมเหมือง

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.03 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ น้อยกว่า 2 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 20.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1,538 mg/l  as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 13 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,576 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 4  สถานี

  1. บริเวณบ่อกักเก็บน้ำ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 6.40 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่า BOD เท่ากับ น้อยกว่า 2.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคือ 2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 1,476 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณคลอไรด์ (Chloride) เท่ากับ 13 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 
  • ผลการตรวจวัดปริมาณซัลเฟต(Sulfate) เท่ากับ 1,543 mg/l (ไม่ไกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

  2. บริเวณคลองหนองจอก

  • น้ำแห้ง ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้

  3. บริเวณคลองหนองตะเคียน 

  • น้ำแห้ง ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้

  5. บริเวณจุดสบระหว่างคลองหนองจอกและคลองหนองตะเคียน 

  • น้ำแห้ง ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้ 

หมายเหตุ: *มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3 (สามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภคและบริโภคได้ โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไป)

 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณน้ำขุมเหมือง 2.บริเวณบ่อกักเก็บน้ำ 3.บริเวณคลองหนองจอก 4.บริเวณคลองหนองตะเคียน 5.บริเวณจุดสบระหว่างคลองหนองจอกและคลองหนองตะเคียน
 โดย บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5740431
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]