การตรวจสอบ คุณภาพน้ำ
 อปท. วังงิ้ว
 อำเภอ ดงเจริญ
 จังหวัด พิจิตร
 เลขที่ประทานบัตร 26919/15779
 ลำดับที่ 1
 เรื่อง ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำบนดินในปี พ.ศ. 2554
 รายละเอียด
 
  •  ในวันที่ 8 มีนาคม 2554

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 2  สถานี

  1. บริเวณน้ำบ่อสาธารณะด้านข้างพื้นที่โครงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.65 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลาย (DO) เท่ากับ 6.9 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ >4.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD5) เท่ากับ 3.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ <2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 10.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

  2. บริเวณบ่อน้ำภายในพื้นที่โครงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ7.80 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลาย (DO) เท่ากับ 6.5 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ >4.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD5) เท่ากับ 3.5 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ <2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 31.4 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน) 

 

ในวันที่ 3 กันยายน 2554

เรื่องผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน  จำนวน 2  สถานี

  1. บริเวณน้ำบ่อสาธารณะด้านข้างพื้นที่โครงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.75 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลาย (DO) เท่ากับ 7.2 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ >4.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD5) เท่ากับ 3.0 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ <2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 12.5 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

  2. บริเวณบ่อน้ำภายในพื้นที่โครงการ

  • ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.80 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0-9.0)
  • ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลาย (DO) เท่ากับ 6.9 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ >4.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดค่าความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD5) เท่ากับ 3.5 mg/l (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ <2.0 mg/l)
  • ผลการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอย ( Suspended Solids) เท่ากับ 38.2 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)

***ค่าบีโอที่ตรวจพบมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานเล็กน้อย คาดว่ามาจากสภาพโดยทั่วไปของแหล่งน้ำที่ไม่มีการของน้ำเนื่องจากเป็นบ่อน้ำที่มีต้นไม้และวัชพืชปกคลุมโดยรอบ  ทำให้ทีการสะสมของซากพืชซึ่งมีผลต่อค่าบีโอดีที่ตรวจได้  แต่ค่าบีโอดีที่สูงขึ้นนี้ไม่มีผลทำให้ค่าออกซิเจนละลายต่ำกว่ามาตรฐาน***

หมายเหตุ: * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน  ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3

 


 สถานที่ตรวจวัด 1.บริเวณน้ำบ่อสาธารณะด้านข้างพื้นที่โครงการ 2.บริเวณบ่อน้ำภายในพื้นที่โครงการ
 โดย บริษัท เอ บี อี เอ็น เอ็นจิเนียริง คอนซัลแตนท์ จำกัด
 รูป
 เอกสารแนบ
 
 

Visitor Number
5741074
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]