ในวันที่ 24 มีนาคม 2559เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำผิวดิน จำนวน 4 สถานี
1. บริเวณห้วยซับน้อย
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้
2. บริเวณคลองตะเคียน
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.74 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 5.0 9.0)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 5.8 NTU (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ 16.7 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 486 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 313 mg/l as CaCO3 (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.63 mg/l(ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
3. บริเวณคลองวังใหม่
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้
4. บริเวณคลองตาสาท
- น้ำแห้งไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้
เรื่องผลการตรวจคุณภาพน้ำใต้ดิน จำนวน 1 สถานี
1. บริเวณน้ำบาดาลบ้านเขาภูหีบ
- ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด- ด่าง (pH) เท่ากับ 7.25 (ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน คือ 6.5-9.2)
- ผลการตรวจวัดค่าความขุ่น (Turbidity) เท่ากับ 602 NTU (ไม่เกินกำหนดเกณฑ์มาตรฐานคือ 20 NTU )
- ผลการตรวจวัดค่าของแข็งแขวนลอย (Total Suspended Solids) เท่ากับ <2.0 mg/l (ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน)
- ผลการตรวจวัดค่าสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids) เท่ากับ 0.47 mg/l (ไม่เกินกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1,200 mg/l )
- ผลการตรวจวัดค่าความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) เท่ากับ 404 mg/l as CaCO3 (ไม่เกินกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน คือ 500 mg/l as CaCO3)
- ผลการตรวจวัดปริมาณเหล็กทั้งหมด (Total Iron) เท่ากับ 0.13 mg/l (ไม่เกินกำหนดเกณฑ์มาตรฐาน คือ 1.0 mg/l )
หมายเหตุ * มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) แหล่งน้ำประเภท 3 (สามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการอุปโภค ? บริโภคได้ โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไป)
*มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2542)เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการทางวิชาการสำหรับการป้องกันทางด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ