>>> บทความทางวิชาการ 

ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐาน
หลักธรรมาภิบาลที่ได้กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 
วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของชุมชน
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
รัฐธรรมมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้กำหนดให้ ภาครัฐกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นเพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นได้เข้ามามีบทบาทในการบริหารจัดการและดูแลท้องถิ่นของตนเอง
 

วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

การศึกษาดินเค็มในพื้นที่ทำเกลือนครราชสีมา
สภาพปัญหา การทำเกลือสินเธาว์ในเขตจังหวัดนครราชสีมา มักก่อปัญหาในเรื่องการแพร่กระจายความเค็มออกนอกพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นการลักลอบปล่อยน้ำเค็มลงสู่พื้นที่เกษตรกรรม หรือการรั่วซึมของน้ำเกลือผ่านคันทำนบโดยไม่ได้ตั้งใจ ล้วนก่อให้เกิดปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดปัญหาดินเค็ม
วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

สถานการณ์การแพร่กระจายความเค็มของน้ำและดิน บริเวณที่มีการทำเกลือสินเธาว์
ปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดจากการผลิตเกลือสินเธาว์ด้วยวิธีการสูบน้ำเกลือจากใต้ดินขึ้นมาตากหรือต้มนั้น เกิดขึ้นเมื่อมีการรั่วไหลของน้ำเค็มลงสู่ลำห้วยธรรมชาติ และพื้นที่นาข้าวข้างเคียง ส่งผลให้ค่าความเค็มของน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติและดินเพิ่มสูง
วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

การทำเหมืองแร่ทองคำที่จังหวัดเลย
ความเป็นมา
  บริษัท ทุ่งคำ จำกัด มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ คือ บริษัท ทุ่งคาฮาเบอร์ จำกัด (มหาชน) ได้รับสิทธิสำรวจแร่และทำเหมืองแร่ทองคำในเขตพื้นที่ที่กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศให้เป็นพื้นที่เพื่อการพัฒนาเหมืองแร่ทองคำ

วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

กพร. กับงานให้บริการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่  หรือ “กพร.” เป็นหน่วยงานภายใต้สังกัดของกระทรวงอุตสาหกรรม ที่มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นองค์กรหลักของประเทศในการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรแร่  การพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ ดุลยภาพ 
วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

5ส กับการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่
การพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ให้ยั่งยืนมีความจำเป็นต้องดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไปกับการทำเหมือง เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและลดความเดือดร้อนรำคาญต่อชุมชน  โดยการนำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต่างๆ มาใช้ 
วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด

“การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในสถานประกอบการเพื่อลดภาวะโลกร้อน”
สืบเนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยที่ต้องเผชิญกับปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจที่กำหลังทรุดตัวลง  ปัญหาทางการเมืองที่เป็นปัญหาใหญ่ที่หาข้อยุติไม่ได้  ยังต้องเผชิญกับปัญหาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เรียกว่า ภาวะโลกร้อน หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 
วันที่:
2553-01-25 > อ่านรายละเอียด

พันธุ์ไม้ที่เหมาะสมในการปรับปรุงพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่

อุตสาหกรรมการทำเหมืองแร่นั้นนอกจากจะเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้อย่างมหาศาลแล้วนั้น ยังสร้างผลกระทบให้กับสภาพแวดล้อมทั้งในบริเวณพื้นที่เหมืองแร่และบริเวณโดยรอบพื้นที่เหมืองแร่มากน้อยแตกต่างกันไปตามประเภทการทำเหมืองและชนิดของแร่ 


วันที่:
2553-01-25 > อ่านรายละเอียด

ยูคาลิปตัส กับความเป็นไปได้ในการฟื้นฟูพื้นที่เหมืองแร่

      ยูคาลิปตัส มีที่มาอย่างไร ?
               ยูคาลิปตัส (Eucalyptus)  เป็นพรรณไม้มีถิ่นกำเนิดใน เกาะแทสเมเนีย ทวีปออสเตรเลีย มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่หมู่เกาะมินดาเนา เซลีเบส ปาปัวนิวกินี ในพื้นที่ชุ่มที่มีน้ำขังในเขตร้อน  ยูคาลิปตัส มีทั้งหมดมากกว่า 500 ชนิด (Species) 
 


วันที่:
2553-01-25 > อ่านรายละเอียด
 หน้าที่   1234 | 5 6

Visitor Number
5293287
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]