>>> บทความทางวิชาการ 

ฝุ่นละออง: อนุภาคขนาดเล็กที่ต้องควบคุม
     เมื่อกล่าวถึงการประกอบการเหมืองหินและโรงโม่หิน คนทั่วไปมักนึกถึงปัญหาผลกระทบด้านฝุ่นละอองเป็นลำดับต้นๆ เนื่องจากมีกรณีตัวอย่างของพื้นที่ประกอบการเหมืองหินและโรงโม่หิน ที่ประสบปัญหาฝุ่นละอองอย่างรุนแรงในพื้นที่แหล่งหินปูนบริเวณตำบลหน้าพระลาน  อำเภอเฉลิมพระเกียรติ  จังหวัดสระบุรี
วันที่:
2554-05-26 > อ่านรายละเอียด

การสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม
     การสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมจากการประกอบกิจการเหมืองแร่ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง 3 กลุ่ม  คือ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  และผู้ประกอบการ
วันที่:
2554-05-25 > อ่านรายละเอียด

บทบาทหน้าที่ และขั้นตอนการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน
     บทบาทหน้าที่ และขั้นตอนการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่มีการทำเหมืองแร่ รวมทั้งการเเก้ไขปัญหา
วันที่:
2554-05-24 > อ่านรายละเอียด

ขั้นตอนในการถ่ายโอนภารกิจด้านบริหารจัดการทรัพยากรแร่ ของ กพร. ให้กับ อปท.

    ขั้นตอนต่างๆในการถ่ายโอนภารกิจด้านบริหารจัดการทรัพยากรแร่ ของ กพร. ให้กับ อปท. รวมทั้งการเเก้ไขปัญหาผลกระทบจากการประกอบกิจการเหมืองแร่


วันที่:
2554-05-24 > อ่านรายละเอียด

การอบรมเชิงปฏิบัติการตามภารกิจที่ถ่ายโอนของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

     ภารกิจที่ถ่ายโอน  มี  2ภารกิจ  ดังนี้
1.การติดตามและตรวจสอบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและมลพิษในการประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติแร่  พ.ศ.2510 และกิจกรรมต่อเนื่อง
2.การดำเนินการตามกฎหมาย


วันที่:
2553-12-28 > อ่านรายละเอียด

การจัดสรรค่าภาคหลวงแร่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น*
     ค่าภาคหลวงแร่คือภาษีที่เรียกเก็บจากการใช้ประโยชน์ทรัพยากรแร่  โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เป็นผู้ดำเนินการจัดเก็บ และส่งเป็นรายได้ของรัฐมาโดยตลอด ต่อมากระทรวงมหาดไทยมีนโยบายในการกระจายอำนาจให้แก่สู่ท้องถิ่น เพื่อให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่นในการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น* และเพื่อให้บริหารจัดการงบประมาณในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง จึงได้มีการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)ขึ้น 
วันที่:
2553-10-08 > อ่านรายละเอียด

ระบบสัมปทานเหมืองแร่ โดยนางสาวสุวนิตย์ เสียงหลาย หัวหน้าส่วนควบคุมสัมปทาน

     การประกอบธุรกิจทำเหมืองแร่ และอุตสาหกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องกับแร่นับตั้งแต่การสำรวจแร่ การทำเหมืองแร่ การแต่งแร่ การประกอบโลหะกรรม การซื้อขายแร่ การเก็บ การครอบครอง การขนแร่ และการนำเข้าหรือส่งแร่ออกนอกประเทศ จะถูกกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการขออนุญาต ถูกควบคุมการดำเนินการโดย พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510


วันที่:
2553-08-16 > อ่านรายละเอียด

ค่าภาคหลวงแร่กับการจัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
   ทรัพยากรแร่แตกต่างจากทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ตรงที่เป็นทรัพยากรสิ้นเปลืองประเภทที่ใช้แล้วหมดไปไม่สามารถสร้างขึ้นมาทดแทนได้ ประกอบกับทรัพยากรในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านความสมบรูณ์ของแหล่งแร่
วันที่:
2553-08-09 > อ่านรายละเอียด

เหมืองแร่ กับ EIA Monitoring Awards 2008
EIA Monitoring Awards เป็นรางวัลที่มอบให้แก่สถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น ซึ่งจัดขึ้นโดยสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วันที่:
2553-01-27 > อ่านรายละเอียด

เหมืองแร่สีเขียว (Green Mining)

ความเป็นมา   เนื่องจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากแร่ในปัจจุบันเป็นกิจการที่มีภาพลักษณ์ไปในทางที่เป็นลบเมื่อเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมประเภทอื่น ปัญหาหลักได้แก่  การประกอบการมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


วันที่:
2553-01-26 > อ่านรายละเอียด
 หน้าที่   123 | 4 56

Visitor Number
5294360
 

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
::
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ::
75/10 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทร.0-2202-3554, 0-2202-3557 โทรสาร.0-2202-3555
[ที่ตั้งกรมฯ]