|
คู่มือการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ทำเหมืองแร่
การวางแผนฟื้นฟูพื้นที่ทำเหมืองแร่เป็นสิ่งที่จำเป็น เพราะจะมีผลทำให้การฟื้นฟูประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนการฟื้นฟูที่ดีในช่วงก่อนการทำเหมือง จะช่วยป้องกันหรือลดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมได้ในขณะทำเหมือง ฉะนั้น การวางแผนการฟื้นฟูจึงควรเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนในการทำเหมือง
วันที่:
2550-03-22
>
อ่านรายละเอียด |
|
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเหมืองแร่
การดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความซับซ้อน และเกี่ยวเนื่องกับปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การดูแลสิ่งแวดล้อมประสบผลสำเร็จได้คือ ความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐในท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ภาคเอกชน (ผู้ประกอบการ) และประชาชน
วันที่:
2550-02-14
>
อ่านรายละเอียด |
|
การจัดการและกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อม
สำหรับกระบวนการบริหารจัดการและกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมในการพัฒนาทรัพยากรแร่ที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ใช้อยู่ในขณะนี้ สามารถแบ่งได้ตาม ช่วงระยะเวลาการดำเนินงาน
วันที่:
2549-08-25
>
อ่านรายละเอียด |
|
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเหมืองแร่
1. ความหมายของสิ่งแวดล้อม
2. อะไรคือสิ่งแวดล้อมที่ดี
3. สิ่งแวดล้อมเหมืองแร่คืออะไร
4. สามารถแก้ไขปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมืองแร่ได้หรือไม่
5. ใครบ้างที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม
วันที่:
2549-07-24
>
อ่านรายละเอียด |
|
สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาทรัพยากรธรณี : ปัจจุบันสู่อนาคต
สังคมต้องยอมรับว่า ปัจจุบันศาสตร์และความสนใจทางด้านสิ่งแวดล้อมได้ เข้ามามีบทบาทและมีความเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกประเภทที่มนุษย์กระทำ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมด้านการเกษตร การบริการ อุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐาน การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาทรัพยากรธรณี
วันที่:
2549-07-13
>
อ่านรายละเอียด |
|
การพัฒนาเหมืองแร่ พร้อมดูแลประโยชน์สู่ชุมชน
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับความสำคัญชุมชน ขั้นตอนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการทำเหมืองแร่ 1. ขั้นตอนก่อนเริ่มการทำเหมือง 2. ขั้นตอนระหว่างการทำเหมือง 3. ขั้นตอนภายหลังการทำเหมือง
วันที่:
2549-05-26
>
อ่านรายละเอียด |